วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

เพลงที่ฉันชอบ...!!



เหตุผลที่ชอบเพลงนี้ คือ ในช่วงเวลาที่เราได้ใช้ชีวิตกับใครสักคนควรให้ความสำคัญกับเค้าให้มาก ๆ เพราะ หากวันใดวันหนึ่งเราต้องเสียเค้าไปจะได้ไม่ต้องเสียใจ อย่างน้อยก็ได้ทำเต็มที่ ที่คนหนึ่งคนจะทำได้   มีสิทธิ์แค่คิดถึง  : (  

วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ข่าวล่าสุด ประจำเดือน สิงหาคม

ยุคชีวิตติดแอพ...คนไทยแห่ท่องเน็ตเกือบวันละ 5 ชม.

ยุคนี้มองไปทางไหนก็เห็นผู้คนก้มหน้าก้มตากดโทรศัพท์มือถือ ทั้งบนโต๊ะอาหาร บนท้องถนน แม้กระทั่งบนรถไฟฟ้า ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นท่าทีแปลกๆ ของคนที่กำลังท่องโลกออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มือถือ บางครั้งบางทีเราจะเห็นคนยิ้มกับตัวเองบ่อยๆ

พฤติกรรมของคนยุคใหม่ ที่อยู่ในโลกส่วนตัวและโลกออนไลน์ในมือ ทำให้ย้อนนึกถึงวลีเก่าๆ ที่ว่า “สื่อสารกับคนรอบข้างบ้าง” ที่ยังคงใช้ได้ดีในเวลานี้

ผลสำรวจล่าสุดของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ภายใต้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที พบว่าปัจจุบันคนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยสัปดาห์ละ 32 ชั่วโมง หรือเฉลี่ยวันละ 4.6 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจาก 12 ปี ที่แล้วถึง 76%ผลสำรวจยังพบว่า คนไทยท่องโลกอินเทอร์เน็ต ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ อย่างสมาร์ทโฟนมากที่สุดถึง 69.5% รองลงมาคือ โน้ตบุ๊ก 67.9% และแท็บเลต 35.3% เพียงเท่านี้ก็พิสูจน์ได้แล้วว่า คนไทยติดเน็ต ติดแอพมากแค่ไหน!!

แห่ซื้อแพคเกจเน็ตผ่านมือถือ

อีกสิ่งหนึ่งที่การันตีได้ดีว่า คนไทยต้องมีโลกออนไลน์ไว้ข้างกายเสมอๆ  คือ ข้อมูลการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟน ของ 3 ค่าย มือถือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส, บริษัท โทเทิ่ล แอคเซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค และบริษัท ทรูมูฟ จำกัด พบว่าทุกค่ายมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟนเพิ่มขึ้น

เอไอเอส มีผู้ใช้งาน 13 ล้านราย เฉลี่ยการใช้งาน 300 เมกะบิท ต่อคนต่อเดือน แพคเก็จที่นิยมใช้งานมากที่สุด คือ อัลลิมิเตดดาต้า ไอสมาร์ท 399 บาท

ส่วนดีแทค เฉลี่ยยอดใช้งาน 1 กิกะบิทต่อคนต่อเดือน แพจเกจที่นิยมใช้งานมากที่สุด โพสเพดสมาร์ทโฟน ส่วนพรีเพดอยู่ที่ 399 บาท จำนวน 1 กิกะบิท

ขณะที่ ทรู ลูกค้าใช้งานอินเทอร์เน็ตค่อนข้างมาก อยู่ที่เกือบ 2 กิกะบิทต่อเดือนต่อคน ในทุกแพคเกจสมาร์ทโฟน 3G ขับเคลื่อนยอดใช้สมาร์ทโฟน


นางสาววอรนุช เลิศสุวรรณกิจ ผู้ร่วมก่อตั้ง  thumbsup.in.th และผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท คอมพิวเตอร์โลจี้ เปิดเผยว่า การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟนมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่เฉพาะประเทศไทย แต่ยังรวมถึงทั่วโลก


ปัจจัยที่ขับเคลื่อนให้ผู้คนทั่วโลก หันมาท่องเน็ตผ่านสมาร์ทโฟนมากขึ้น ได้แก่ 1. ผู้ให้บริการ - โมบายโอเปอร์เรเตอร์ ทั้ง 3 รายเปิดให้บริการ 3จี อย่างเต็มตัว (เกิดการแข่งขันทั้งในเรื่องราคาและบริการ) เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากขึ้น โดยเฉพาะในโซนต่างจังหวัด 2. อุปกรณ์ - ราคาอุปกรณ์ สมาร์ทโฟนถูกลง พูดง่ายๆ คือไม่จำเป็นต้องเสียเงินจำนวนมาก ก็สามารถหาซื้อสมาร์ทโฟนได้แล้ว โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และ 3. บริการต่างๆ และโซเชียลมีเดียมีส่วนผลักดัน - อย่าง เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม ไลน์ มีส่วนผลักดันสูง

“เพื่อนเรามีตัวตน มีสังคมที่นั่น เรื่องราวต่างๆ ที่คนพูดถึงกันก็อยู่ที่นั่น และยุคนี้ต้องการความรวดเร็วฉับไว อุปกรณ์ที่อยู่ติดตัวเรา และสะดวกในการเข้าถึงโซเชียลมีเดียเหล่านี้ ก็คือ สมาร์ทโฟน ดังนั้นมันก็เสริมกันอยู่” นางสาวอรนุช กล่าว

มีการสำรวจด้วยว่า โซเชียลมีเดียที่นิยมใช้มากที่สุด คือ เฟซบุ๊ก 92.2% กูเกิล พลัส 63.7% และแอพลิเคชั่นแชท "ไลน์" 61.1% สาวกเน็ต ใช้โซเชียลมีเดียเหล่านี้ สำหรับการพูดคุยสูงถึง 85.7% ใช้อัพเดตข้อมูลข่าวสาร 64.6% และอัพโหลดแชร์รูปภาพหรือวิดีโอ 60.2%

อุปกรณ์ที่ใช้งาน 3 อันดับแรก ยังคงเป็นสมาร์ทโฟน 33.7% คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ 31.6% และโน้ตบุ๊ก 24.4%

ดูจากสถิติท่องโลกอินเทอร์เน็ต ที่หลายคนจมอยู่ในโลกออนไลน์นานหลายชั่วโมง อาจทำให้หลายคนมีคำถามว่า นอกเหนือจากการฝังตัวอยู่ในโลกโซเชียล ในสังคมออนไลน์ของแต่ละคนแล้ว คนไทยใช้เวลาของพวกเขาไปอย่างมีประโยชน์บ้างหรือไม่

ข้อมูลจากผู้ร่วมก่อตั้ง thumbsup.in.th ยังบอกด้วยว่า คนไทยใช้เน็ตมากที่สุดระหว่าง 2 ทุ่ม-เที่ยงคืน การใช้งานมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ การรับส่งอีเมล์ 54.4% ค้นคว้าข้อมูล 52.5% และใช้งานสังคมออนไลน์ 33.2% โดยผู้ใหญ่มักใช้รับส่งอีเมล์ แต่เด็กเน้นเล่นเกมออนไลน์ และดาวน์โหลด

เทคโนโลยีใกล้ชิดคนมากขึ้น การใช้งานที่ง่ายเพียงปลายนิ้ว และการพัฒนาแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของคนแต่ละกลุ่ม แต่ละเพศแต่ละวัย จะเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญที่จะทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟน เติบโตต่อเนื่องหลายเท่าตัว

แหล่งที่มา  http://www.thairath.co.th/content/tech/364122




วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Moore's law

Moore's law คืออะไร

                กฏของมัวร์ หรือ Moore's   law  คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี  Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ง Intel  ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม semiconductor  นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ moore's law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของ ทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้นMoore predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไปการก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

                   กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์(Moore’s law) ขึ้น  ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม



กฎของมัวร์ (Moore's Law)   

            ในปี .2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งทีประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ


             .2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง  ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม

             การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบเทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี .2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
        
               คําว่า กฎของมัวร์” นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์   Caltech   นามว่า    Carver Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965  ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975

ที่มา http://bc101k.blogspot.com/2011/07/moores-law.html

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ(Parity Bit)

สรุป
แพริตีบิต หรือ บิตภาวะคู่หรือคี่parity bit) หรืออาจเรียกเพียงแค่ แพริตี หมายถึงบิตที่เพิ่มเข้าไปในข้อมูล โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องนำไปต่อท้ายหรือขึ้นต้น เพื่อทำให้แน่ใจว่าบิตที่เป็นค่า 1 ในข้อมูลมีจำนวนเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ การใช้แพริตีบิตเป็นวิธีที่ง่ายอย่างหนึ่งในการตรวจจับและแก้ไขความผิดพลาด
แพริตีบิตมีสองชนิดคือ แพริตีบิตคู่ (even parity bit) กับ แพริตีบิตคี่ (odd parity bit) ตามข้อมูลในเลขฐานสอง
  • แพริตีบิตคู่ จะมีค่าเป็น 1 เมื่อจำนวนของเลข 1 ในข้อมูลเป็นจำนวนคี่ (ซึ่งจะทำให้จำนวนเลข 1 ทั้งหมดเป็นจำนวนคู่ เมื่อรวมกับบิตนี้)
  • แพริตีบิตคี่ จะมีค่าเป็น 1 เมื่อจำนวนของเลข 1 ในข้อมูลเป็นจำนวนคู่ (ซึ่งจะทำให้จำนวนเลข 1 ทั้งหมดเป็นจำนวนคี่ เมื่อรวมกับบิตนี้)
หากพิจารณาถึงจำนวน 256 สัญลักษณ์ที่ใช้ในรหัส ASCII และ EBCDIC นั้นก็ดูพอเพียงต่อการใช้งานภาษาอังกฤษ และ ภาษาใดๆ อีกภาษาหนึงแต่ในกรณีที่ต้องการใช้แทนอักษรของชาติอื่นๆทั่วโลกก็คงไม่พอเพียงต่อการใช้งาน ดังนั้น รหัส Unicode ชึ่งมีขนาด 16 บิตนี้จึงเป็นทางเลือกเพื่อใช้แทนค่าข้อมูล ชึ่งสามารถแทนค่าข้อมูลได้มากถึง 65,536 สัญลักษณ์

รหัส ASCII , Unicode



















แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ  (อังกฤษASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น


รหัสแอสกีมีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือสื่อสารแบบดิจิทัลต่างๆ พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการ X3 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมมาตรฐานอเมริกา (American Standards Association) ภายหลังกลายเป็น สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (American National Standard Institute : ANSI) ในปี ค.ศ. 1969 โดยเริ่มต้นใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1967 ซึ่งมีอักขระทั้งหมด 128 ตัว (7 บิต) โดยจะมี 33 ตัวที่ไม่แสดงผล (unprintable/control character) ซึ่งใช้สำหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์บางประการ เช่น การขึ้นย่อหน้าใหม่สำหรับการพิมพ์ (CR & LF - carriage return and line feed) การสิ้นสุดการประมวลผลข้อมูลตัวอักษร (ETX - end of text) เป็นต้น และ อีก 95 ตัวที่แสดงผลได้ (printable character) ดังที่ปรากฏตามผังอักขระ (character map) ด้านล่าง
รหัสแอสกีได้รับการปรับปรุงล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1986 ให้มีอักขระทั้งหมด 256 ตัว (8 บิต) และเรียกใหม่ว่าแอสกีแบบขยาย อักขระที่เพิ่มมา 128 ตัวใช้สำหรับแสดงอักขระเพิ่มเติมในภาษาของแต่ละท้องถิ่นที่ใช้ เช่นภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ฯลฯ โดยจะมีผังอักขระที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาซึ่งเรียกว่า โคดเพจ (codepage) โดยอักขระ 128 ตัวแรกส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกันแทบทุกโคดเพจ มีส่วนน้อยที่เปลี่ยนแค่บางอักขระ

ฐานสองฐาน
สิบ
ฐาน
สิบหก
อักขระความหมาย
0000 0000000(ว่าง)NUL - null character
0000 0001101SOH - start of heading
0000 0010202STX - start of text
0000 0011303ETX - end of text
0000 0100404EOT - end of transmission
0000 0101505ENQ - enquiry
0000 0110606ACK - acknowledge
0000 0111707BEL - bell
0000 1000808BS - backspace
0000 1001909HT - horizontal tabulation
0000 1010100ALF - line feed
0000 1011110BVT - vertical tabulation
0000 1100120CFF - form feed
0000 1101130DCR - carriage return
0000 1110140ESO - shift out
0000 1111150FSI - shift in

           แหล่งที่มา
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B%AD%0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B5



ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) [1]
ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์
ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์กและระบบปฏิบัติการสมัยใหม่
ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2)

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

THANAWAT    BOONSORN

แทนค่าด้วยรหัส ASCII  ดังนี้
T  01010100                                  B  01000010
H  01001000                                 O  01001111
A  01000001                                 O  01001111
N  01001110                                 N  01001110
A  01000001                                 S  01010011
W 01010111                                 O  01001111                 
A  01000001                                 R  01010010
T  01010100                                 N  01001110


0101010001001000010000010100111001000001010101110100000101010100     0100001001001111010011110100111001010011010011110101001001001110
มีพื้นที่จัดเก็บดังนี้ 16 ไบต์   128 บิต





วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 1 ประวัติคอมพิวเตอร์

ใบงานที่ 1
ประวัติคอมพิวเตอร์

1.บุคคลต่อไปนี้ มีความสำคัญอย่างไร ในประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จงอธิบาย โดยระบุถึงปีที่เกิดเหตุการณ์ และผลงานที่สำคัญ


Charles Babbage
ปี 1822 ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ทำการออกแบบเครื่อง Difference Engine โดยได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐบาล แต่เครื่อง Difference Engine นี้สร้างไม่เสร็จ เพราะแบบเบจได้ค้นพบความไม่น่าเชื่อถือบางประการในการคำนวณ จึงล้มเลิก และไปคิดเครื่องใหม่ที่ชื่อว่า Analytical Engine ซึ่งประกอบด้วยหน่วยความจำ (Memory Unit) ที่สามารถจัดเก็บตัวเลขและนำไปคำนวณได้ยิ่งไปกว่านั้น เครื่องดังกล่าวยังสามารถพิมพ์ข้อมูลได้อัตโนมัติ สามารถนำเข้าข้อมูลด้วยบัตรเจาะรู (Punched Cards) และใช้ชุดคำสั่งในการควบคุม เครื่อง Analytical Engine นี้ยังมีฟังก์ชั่นหน้าที่หลายอย่างเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน ทำให้ ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ถูกขนานนามให้เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์ เป็นต้นมา

Lady Augusta Ada Byron

เอดา ไบรอน เลิฟเลซ (Lady Augusta Ada Byron, Countess of Lovelace) โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เป็นบุตรสาวของ ลอร์ด ไบรอน (Lord Byron) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) หลังจากเธอเกิดไม่นาน พ่อแม่ของเธอก็แยกทางกัน แม่ของเอดา จึงตัดสินใจเลี้ยงดูเธอให้เป็นผู้หญิงสมัยใหม่ และให้ศึกษาด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ต่างไปจากกุลสตรีในตระกูลใหญ่ๆ ของอังกฤษทั่วไป
พออายุ 17 ปี ก็มีผู้แนะนำให้เอดารู้จัก Mrs. Somerville แห่งเคมบริดจ์ ผู้หญิงเก่งแห่งยุค ที่เคยแปลงานของ Laplace มาเป็นภาษาอังกฤษ เอดาจึงเข้ามาคลุกคลีกับเพื่อนกลุ่มนี้ จนได้รู้จักกับ ชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง ในที่สุด ในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า "what if a calculating engine could not only foresee but could act on that foresight" (จะเป็นอย่างไร ถ้าหากเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถหยั่งรู้ได้ หากแต่สามารถตอบสนองต่อการหยั่งรู้นั้นได้ด้วย) ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้ของแบบบิจเลย ยกเว้นเอดา ซึ่งเธอรู้สึกสนใจในงานนี้เป็นอย่างมาก จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือ การสร้างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบบเบจ
Dr.Herman Hollerith
ค.ศ. 1884 : ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดประดิษฐ์บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล โดยได้แนวคิดจากบัตรควบคุมการทอผ้าของ Jacquard และวิธีการหนีบตั๋วรถไฟของเจ้าหน้าที่รถไฟ นำมาดัดแปลงและประดิษฐ์เป็นบัตรเก็บข้อมูลขึ้น และทำการสร้างเครื่องคำนวณไฟฟ้าที่สามารถอ่านบัตรที่เจาะได้ ทำให้สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก  เมื่อปี ค.ศ. 1880 สำนักงานสำรวจสำมะโนประชากรสหรัฐอเมริการได้ทำการสำรวจสำมะโนประชากรโดยใช้แรงงานคนในการประมวลผล ต้องใช้เวลาถึง 7 ปีครึ่งยังไม่แล้วเสร็จ ข้อมูลที่ได้ไม่แน่นอนและไม่ค่อยถูกต้อง ต่อมา ค.ศ. 1890 สำนักงานฯ จึงได้ว่าจ้าง ฮอลเลอริธ มาทำการประมวลผลการสำรวจ ปรากฏว่าเมื่อใช้เครื่องทำตารางข้อมูล (Tabulating     machine) และหีบเรียงบัตร (Sorting) ของฮอลเลอริธแล้ว ใช้เวลาในการประมวลผลลดลงถึง 3 ปี 



Alan Turing


แอลัน ทัวริง เป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย. บิดาและมารดาของทัวริง พบกัน และทำงานที่ประเทศอินเดีย.
ในสมัยมัธยม ทัวริงสนิท และนับถือรุ่นพี่คนหนึ่ง ชื่อ คริสโตเฟอร์ มอร์คอม (Christopher Morcom) ซึ่งเสียชีวิตไปซะก่อน ทัวริงเศร้ามาก เลยตั้งใจสานต่อสิ่งที่รุ่นพี่เขาอยากทำให้สำเร็จ. ตลอดสามปีหลังจากนั้น เขาเขียนจดหมายอย่างสม่ำเสมอให้คุณแม่ของมอร์คอม ว่าเขาคิด และสงสัยเรื่องความคิดของคน ว่าไปจับจดอยู่ในเรื่องหนึ่ง ๆ ได้อย่างไร (how the human mind was embodied in matter) และ ปล่อยเรื่องนั้นๆ ออกไปได้อย่างไร (whether accordingly it could be realeased from matter) แล้ววันหนึ่งเขาก็ไปเจอหนังสือดังในยุคนั้นชื่อ "The Nature of the Physical World" อ่านไปก็เกิดนึกไปเองว่า ทฤษฏีกลศาสตร์ควอนตัม มันต้องเกี่ยวกับปัญหาเรื่อง mind and matter ที่เขาคิดอยู่
Konrad   Zuse
คอนราด Zuse (1910-1995) เป็นผู้บุกเบิกคอมพิวเตอร์หนึ่งที่สร้างหนึ่งในครั้งแรกโปรแกรมควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ระหว่าง 1936 และ 1945 เขาสร้างขึ้นครั้งแรกสี่เครื่องคอมพิวเตอร์ของเขา - Z1, Z2, Z3 และ Z4 ในปี 1945 เขาย้ายไปบาวาเรียที่เขายังคงที่จะสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์กับ บริษัท ใหม่ของเขา ที่นั่นเขายังได้รับการออกแบบครั้งแรกของการเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูงPlankalkül เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับคอนราด Zuse และคอมพิวเตอร์


Prof.Howard H . Aiken
ฮาวเวิร์ดฮาธาเวย์ Aiken (8 มีนาคม 1900 - 14 มีนาคม 1973) เป็นผู้บุกเบิกในการคำนวณการออกแบบแนวคิดเดิมที่อยู่เบื้องหลังของไอบีเอ็มฮาร์วาร์ทำสัญลักษณ์ว่าคอมพิวเตอร์Aiken เรียนที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซินแมดิสันในภายหลังและได้รับปริญญาเอกของเขาในฟิสิกส์ที่ Harvard University ใน 1939.During เวลานี้เขาพบสมการเชิงอนุพันธ์ว่าเขาสามารถแก้ตัวเลข เขามองเห็นภาพเครื่องคอมพิวเตอร์กลไฟฟ้าที่สามารถทำมากของการทำงานที่น่าเบื่อสำหรับเขา คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ แต่เดิมเรียกว่า ASCC (ลำดับเลขอัตโนมัติควบคุม) และต่อมาเปลี่ยนชื่อฮาร์วาร์ทำเครื่องหมาย กับวิศวกรรมการก่อสร้างและการระดมทุนจาก IBM, เครื่องเสร็จสมบูรณ์แล้วและติดตั้งอยู่ที่ฮาร์วาร์ในเดือนกุมภาพันธ์ 1944

Dr.John V. Atanasoff CliffordBerry
ศาสตราจารย์จอห์นอาตา และนักศึกษาบัณฑิต Clifford Berry สร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลตัวแรกของโลกที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐไอโอวาระหว่าง 1939 และ 1942 คอมพิวเตอร์อาตา-Berry แสดงนวัตกรรมหลายอย่างในคอมพิวเตอร์รวมถึงระบบเลขฐานสองของเลขคณิตประมวลผลแบบขนานความทรงจำของการปฏิรูปและการแยกหน่วยความจำและฟังก์ชั่นการใช้คอมพิวเตอร์Presper Eckert และจอห์น Mauchly เป็นคนแรกที่จดสิทธิบัตรเครื่องคอมพิวเตอร์ดิจิตอล ENIAC คอมพิวเตอร์ A patent infringement case (สเปอร์รีแรนด์ Vs. Honeywell, 1973) เป็นโมฆะสิทธิบัตร ENIAC เป็นที่มาของการประดิษฐ์ของจอห์นอาตาอาตาค่อนข้างใจกว้างในการระบุ "มีเครดิตเพียงพอสำหรับทุกคนในการประดิษฐ์และการพัฒนาของคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ Mauchly และ Eckert ได้รับส่วนใหญ่ของเครดิตสำหรับการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลเป็นครั้งแรก ประวัติศาสตร์บอกว่าตอนนี้คอมพิวเตอร์อาตา-Berry เป็นครั้งแรก



Dr.John W.Mauchly j Presper Eckert
จอห์นอดัม Presper "ปธน. " Eckert จูเนียร์ (9 เมษายน 1919 - 3 มิถุนายน 1995) เป็น อเมริกัน วิศวกรไฟฟ้า และ คอมพิวเตอร์ เป็นผู้บุกเบิก  กับ จอห์น Mauchly เขาคิดค้นครั้งแรกโดยทั่วไปวัตถุประสงค์คอมพิวเตอร์ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ ( ENIAC ), นำเสนอหลักสูตรแรกในหัวข้อคอมพิวเตอร์ ( มัวร์บรรยายโรงเรียน ) ก่อตั้งขึ้น บริษัท คอมพิวเตอร์เชิงพาณิชย์ครั้งแรก ( Eckert-Mauchly Computer Corporation ) และได้รับการออกแบบครั้งแรก คอมพิวเตอร์เชิงพาณิชย์ในสหรัฐ, ยูนิแวก ซึ่งเป็น บริษัท Eckert การประดิษฐ์ของปรอท หน่วยความจำสายล่าช้า .

Dr.John Von Neumann

เขาเป็นบุตรชายคนโต ในพี่น้อง 3 คน ชื่อเดิมของนอยมันน์ คือ János Lajos Margittai Neumann เกิดที่เมืองบูดาเปส บิดาคือ Neumann Miksa (Max Neumann) เป็นนักการธนาคาร และ มารดาคือ Kann Margit (Margaret Kann) นอยมันน์มีชื่อเล่น ว่า "Jancsi" เขาเติบโตมาในครอบครัวชาวยิวที่ไม่เคร่งครัด และได้แสดงถึงความจำที่เป็นเลิศ มาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก โดยสามารถทำการหารเลข 8 หลักในใจได้ตอนอายุ 6 ปี. ในปี ค.ศ. 1911 ก็เข้าเรียนที่ Lutheran Gymnasium (ในประเทศเยอรมนี, gymnasium หมายถึง โรงเรียนมัธยมปลาย) พอปี ค.ศ. 1913 เนื่องจากคุณพ่อของเขาได้รับตำแหน่ง (ยศ) เขาจึงได้รับชื่อในภาษาเยอรมัน von จึงใช้ชื่อเต็มเป็น János von Neumann



Dr.Ted Hoff

เขาได้รับการ ศึกษาระดับปริญญาตรี ใน ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จาก สถาบัน Rensselaer Polytechnic Institute ในปี 1958 และเขานำมาใช้สำหรับสิทธิบัตรของเขาสองคนแรกที่ขึ้นอยู่กับงานที่ทำสำหรับสัญญาณทั่วไปรถไฟคอร์ปของ โรเชสเตอร์, นิวยอร์ก ในช่วงฤดูร้อนของการศึกษาระดับปริญญาตรีของเขา. [ นั้นเขาก็ได้รับ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ สมาคมลงทะเบียนเรียนใน มหาวิทยาลัย ซึ่งเขาได้รับเขา ปริญญาโท ในปี 1959 และ ปริญญาเอก ในปี 1962.  เป็นส่วนหนึ่งของปริญญาเอกของเขา  วิทยานิพนธ์ฮอฟฟ์ร่วมคิดค้น น้อยสแควร์หมายถึงตัวกรอง กับ เบอร์นาร์ด Widrow 
 ฮอฟฟ์เข้าร่วม Intel ในปี 1968 ในขณะที่จำนวนพนักงาน 12, และให้เครดิตกับที่มากับความคิดของการใช้ "ประมวลผลสากล" มากกว่าความหลากหลายของวงจรที่กำหนดเองที่ออกแบบสถาปัตยกรรมในความคิดและการเรียนการสอนชุดสูตร สแตนลี่ย์ Mazor ในปี 1969 สำหรับ อินเทล 4004 - ชิปที่เริ่มต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ การปฏิวัติในช่วงต้นปี 1970  การพัฒนาวิธีการออกแบบซิลิคอนประตูและออกแบบชิปที่เกิดขึ้นจริงทำโดย  ในช่วง 1970 - 1971
ในปี 1985 ฮอฟฟ์เป็นชื่อที่เพื่อนของอินเทลเป็นครั้งแรกซึ่งเป็นตำแหน่งที่สูงที่สุดในทางเทคนิค บริษัท .  เขาอยู่ในตำแหน่งนั้นจนกว่า 1988. 


Steve Jobs Steve Wozniak

สตีเฟ่นแกรี่ "สตีฟ" Wozniak  (เกิด 11 สิงหาคม 1950) ที่รู้จักกันเป็น Woz, อเมริกันเป็น นักประดิษฐ์ , วิศวกรคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรมเมอร์ ที่ร่วมก่อตั้ง Apple Computer (ตอนนี้ แอปเปิ้ลอิงค์ ) กับ สตีฟจ็อบส์ และ โรนัลด์เวย์น . โดดเดี่ยวเดียวดายคิดค้นทั้ง Apple I และ แอปเปิ้ล คอมพิวเตอร์ในปี 1970  คอมหล่านี้มีส่วนสำคัญในการ ปฏิวัติไมโครคอมพิวเตอร์ . พิวเตอร์เ




   


bill gates
เกิดที่เมืองซีแอทเทิล รัฐวอชิงตัน เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955 บิดาชื่อนายวิลเลียม เอ็ช เกตส์ จูเนียร์ มีอาชีพนักกฎหมายของบริษัท มารดาชื่อแมรี แมกซ์เวล เกตส์ เป็นสมาชิกคณะกรรมการของ Berkshire Hathaway, First Interstate Bank, Pacific Northwest Bell และคณะกรรมการแห่งชาติของ United Way ชื่อเต็มของเขาคือ วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม ปู่ของเขาคือ วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ซีเนียร์




2.ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็นยุค ๆ ตามช่าวเวลา และมีเหตุการณ์สำคัญ ๆ รวมถึงจุดเปลี่ยนแปลเด่นๆ ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวม และสรุปสาระสำคัญ
ยุคของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ คือ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1

อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง

http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_02.htm